วันพฤหัสบดีที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2557

ครั้งที่8 วัน เสาร์ ที่ 18 เดือนตุลาคม 2557 *เรียนชดเชย***

บันทึกอนุทิน


 เรื่อง การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

กิจกรรมในการเรียนครั้งนี้คือ การร้องเพลง


                                                                                     





                                    



 การทำท่าทางระกอบเพลง เพื่อให้การร้องเพลงสนุกสนานขึ้น
                                                                        
                          

ทักษะการร้องเพลง ต้องร้องให้ถูกจังหวะ

สรุป   กิจกรรมนี้ช่วยฝึกทักษะการออกเสียง  การใช้คำ และการเต้นประกอบเพลงเพื่อพัฒนาให้เรารู้จักกล้าแสดงออก 











ครั้งที่7 วันที่ 16 ตุลาคม 2557

บันทึกอนุทิน

           เรื่อง การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย


                                                                                                                              


                                                                                                                  

                                                                                                                                







ร้องเพลงและทำท่าประกอบเพลง

กิจกรรมนี้ช่วยฝึกให้เราร้องเพลงไม่ให้เพี้ยนและฝึกเต้นประกอบเพลงเพื่อให้เรากล้าและไม่อาย




กิจกรรมต่อมาคือ   กิจกรรมวาดภาพนิทาน เรื่อง ทะเลสีคราม




                                                                                                                






                                                                                                                      




สรุป         จากกิจกรรมในวันนี้ได้รับความรู้มากมาย ทั้งการร้องเพลง การทำนิทานจากการไปเที่ยวทะเล
        เป็นการจัดประสบการณ์ทางภาษาทั้งด้านการ  ฟัง พูด อ่าน  เขียน สำหรับด็กปฐมวัย















วันเสาร์ที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2557

ครั้งที่6 วันที่2ตุลาคม 2557
แบบบันทึกอนุทิน
เรื่อง การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย













จากกิจกรรมนี้
การวาดภาพและการใช้สัญลักษณ์แทนคำพูดในเพลงที่เราทำในกิจกรรมนี้ช่วยสร้างความสนใจให้กับเด็กและทำให้เด็กสนใจที่จะฟังเวลาที่เราพูดมากขึ้น


สรุป

กิจกรรมนี้ช่วยฝึกให้เรารู้จักการเล่า การพูด รู้จักการเน้นคำที่สำคัญในเพลงถ้าเราฝึกทำบ่อยจะทำให้เราคุ้นเคยและพัฒนาศักยภาพเรามากขึ้น





















ครั้งที่5 วันที่25 กันยายน 2557
แบบบันทึกอนุทิน
วันนี้เรียน



แนวทางในการจัดประสบการณ์ทางภาษา

                                   1.เป็นสิ่งที่สะท้อนปรัชญาและความเชื่อของครูเกี่ยวกับการเรียนรู้ภาษาของเด็ก
2.นำไปสู่กระบวนการเรียนรู้ที่ใช้อย่างแตกต่างกันออกไป







การสอนแบบธรรมชาติ หรือ การเรียนภาษาแบบองค์รวม

(  Whole language )

Genneth Goodman  เป็ผู้เสนอแนวทางการสอนภาษาธรรมชาติ
  ทฤษฎีที่มีผลต่อการสอนภาษาธรรมชาติ 
Dewey + Piage + Vygotsky + Haliday

  - รู้จากประสบการณ์/ลงมือทำ
  - รู้จากกิจกรรม สัมผัส สิ่งรอบตัว
  - สิ่งแวดล้อมมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ของเด็ก




สรุป
จากการเรียนรู้เรื่องภาษาธรรมชาติ ภาษาเป็นสิ่งที่อยู่รอบๆตัวมนุษย์ไม่ว่าเราจะทำอะไร จะสื่อสารกันด้วยวิธีไหนมันก็ล้วนเป็นภาษาทั้งหมดเราก็ต้องเรียนรู้ที่จะใช้และพัฒนาภาษาให้ดียิ่งขึ้นไป













ครั้งที่4 วันที่18กันยายน 2557
แบบบันทึกอนุทิน

เรื่อง นักศึกษานำเสนอพัฒนาการภาษาของเด็กปฐมวัยของแต่ละช่วงวัย"


นำเสนองาน




การฟัง


             อายุ ขวบ  ชอบฟังเพลงกล่อมเด็กวัยนี้ชอบคำซ้ำและเลียนแบบเสียง
             อายุ ขวบ  สามารถเข้าใจภาษาพูดง่ายๆของผู้ใหญ่                                                                          อายุ ขวบ  ฟังเรื่องได้นานขึ้น เริ่มตีความหมายเรื่องที่ฟัง ชอบฟังเรื่องซ้ำๆและสามารถจำแนกความแตกต่างของเสียงได้                                                                                                                          อายุ ขวบ ชอบฟังนิทาน เพลง เล่นภาษา เช่น คำคล้องจอง สามารถเข้าใจคำพูดข้อความยาวๆ ได้ ความเข้าใจทำให้เด็กวัยนี้พูดเก่งและจำแม่น
             อายุ ขวบ ฟังเรื่องราวต่างๆและเข้าใจถ้าไม่ซับซ้อนเกินไป

   การพูด
             เด็กอนุบาล 1 พูดติดอ่าง ย้ำคำพูดตัวเอง
             เด็กอนุบาล 2 พูดเป็นประโยคสั้นๆ
             เด็กอนุบาล 3 ประโยคเริ่มสมบูรณ์



การอ่าน
          อายุ 3-4 ปี สนใจเสียงต่างๆของภาษาโดยเฉพาะ "คำคล้องจอง" ที่มีในเพลง สามารถบอกตัว                                อักษรได้ 10 ตัว 
          อายุ 4-5 ปี สามารถแยกพยางค์ในคำที่ฟังได้ เริ่มแยกหน่วยเสียงย่อยในคำที่ฟังได้ 
          อายุ 5-5 ½ ปี สามารถเปรียบเทียบคำสองคำที่ฟังว่าคล้องจองกันหรือไม่ (เช่น กา-ขา, cat-                                   bat) บอกคำที่มีเสียงคล้องจองกับคำที่ฟังได้
          

                                             



                                                          
การเขียน
           ขั้นที่ 1 ขีดเขี่ย (อายุ 2-3 ขวบ) เด็กจับดินสอขีดเขียนเส้นต่างๆ สะเปะสะปะ ไร้ทิศทาง โดยที่ตา                        ไม่ได้มองมือ หรือกระดาษที่ตนเองเขียน
           ขั้นที่ 2 ควบคุมการขีดเขี่ย (อายุ 3 ขวบ) เด็กเริ่มควบคุมการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อมือตนเอง                        ได้ และเขียนอย่างมีทิศทางมากขึ้น


           ขั้นที่ 3 เขียนซ้ำตัวอักษร (อายุ 3-4 ขวบ) เด็กในวัยนี้ชอบเขียนตามจุดปะ หรือลากเส้นทับคำที่                          อยากเขียนมากแต่ยังบิดเบี้ยว โย้เย้ ไม่เป็นระเบียบ
           ขั้นที่ 4 สามารถเขียนชื่อตนเอง ( อายุ 4 ขวบ) เด็กสามารถลอกคำต่างๆ ได้ และพยายามที่จะ                            เขียนคำที่ชอบเอง
           ขั้นที่ 5 คิดเขียนคำ (อายุ 4-5 ขวบ) เมื่อเด็กได้ฟังคำอะไร เด็กจะชอบเอาคำนั้นมาคิดและเขียน                        แต่มักจะสะกดไม่ถูกต้อง
           ขั้นที่ 6 เขียนอย่างถูกต้อง (อายุ 5-7 ขวบ) เด็กสามารถเขียนคำต่างๆ ได้อย่างคล่องแคล่ว และ                         ถูกต้องมากขึ้น




สรุป ภาษามีคามสำคัญมากสำหรับเด็กถ้าเราสอนหรือสื่อสารไม่ถูก พูดไม่ชัด เด็กก็จะไม่เข้าใจหรือสื่อสารแบบผิดๆก็ได้



                                         









วันศุกร์ที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2557

ครั้งที่3 วันที่11กันยายน 2557

บันทึกอนุทิน

เรื่อง แนวคิดการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาภาษาของเด็กปฐมวัย





จากการเรียนรู้แนวความคิดไปแล้ว วันนี้เราก็ทำกิจกรรม วาดภาพสิ่งของที่เราได้รับเป็นชิ้นแรกและออกไปนำเสนอหน้าห้อง



ภาพนี้เป็นภาพตุ๊กตาไขลาน

สรุป  จากการเรียนแนวคิดของนักทฤษฏีหลายท่านก็สรุปได้ดังนี้ เด็กจะเกิดการเรียนรู้ได้ต้องขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง  เช่น วุฒิภาวะ ความพึงพอใจ เป็นต้น







ครั้งที่2 วันที่4กันยายน 2557
บันทึกอนุทิน

เรื่อง การจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัย

การจัดการศึกษาปฐมวัยเป็นการจัดการอบรมเลี้ยงดูและส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ที่สนองต่อธรรมชาติและพัฒนาการของเด็ก ให้เด็กมีพัฒนาการทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญาที่เหมาะสมกับวัย









สรุป การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้เด็กเราต้องมีทักษะในการสอน เราต้องฝึกพูด อ่าน เขียนให้ถูกต้องเพื่อเป็นแบบอย่างให้กับเด็ก